วันที่ 14 มีนาคม 2566 เวลา 10:00 น. บริษัท เอพลัส อินโนเวชั่น แอสเซท จำกัด โดย นายนันทวัฒน์ พรรณสกุลวัฒน์ประธานบริหารบริษัทฯและ อุปนายกสมาคมช่างภาพสื่อมวลชนดิจิทัล เข้าพบ พลอากาศโท ภักดี แสงชูโต รองราชเลขาใน พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
ผลิตภัฑณ์ที่ช่วยเพิ่มสารอนุพันธุ์ออกซิเจนให้เหลืออยู่ในอากาศอย่างเพียงพอ และเหมาะสม ช่วยป้องกันการแพร่เชื้อโรคโควิด-19 เชื้อโรคอื่น ๆ มลพิษ กลิ่นฝุ่นควัน ขนาดเล็ก (PM2.5) และสารอินทรีย์ ระเหยง่าย (VOC)
การบำรุงรักษาง่าย มีเพียงเปลี่ยนหลอดไฟทุก 50,000 ชม. (ประมาณ 10 ปี)
เป็นผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นทะเบียนบัญชีนวัตกรรมไทย โดยสำนักงบประมาณ ฉบับ เพิ่มเติม ธันวาคม 2565 รายการนวัตกรรมไทย ลำดับที่ 27 รหัส 07020027
เป็นผลิตภัณฑ์ที่วิจัยและพัฒนาร่วมกับ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ผลิตสาร: ผลิตสารอนุพันธ์ออกซิเจนจากไอนำและออกซิเจนที่มีอยู่ในอากาศ
แพร่กระจาย: พ่นสารอนุพันธ์ออกซิเจนให้แพร่ฟุ้งทั่วทั้งห้อง
กำจัด: อบฆ่าเชื้อโรคและกำจัดมลพิในอากาศรวมถึงบนพื้นผิวสัมผัส
หลงเหลือ: หลงเหลือสารอนุพันธ์ออกซิเจนในอากาศ ในปริมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ
ป้องกัน: สารอนุพันธ์ออกซิเจนที่หลงเหลือป้องกันการแพร่ของเชื้อโรคทั้งในอากาศและพื้นผิวสัมผัส
วันที่ 14 มีนาคม 2566 เวลา 10:00 น. บริษัท เอพลัส อินโนเวชั่น แอสเซท จำกัด โดย นายนันทวัฒน์ พรรณสกุลวัฒน์ประธานบริหารบริษัทฯและ อุปนายกสมาคมช่างภาพสื่อมวลชนดิจิทัล เข้าพบ พลอากาศโท ภักดี แสงชูโต รองราชเลขาใน พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
มื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2566 บริษัท เอ พลัส อินโนเวชั่น แอสเซท จำกัดโดย นายนันทวัฒน์ พรรณสกุลวัฒน์ประธานบริหารบริษัทฯ คณะผู้บริหาร และพนักงานบริษัท ขอพระราชทานทูลเกล้าน้อมกระหม่อมถวายผลิตภัณฑ์เครื่องฟอกกำจัด เชื้อโรคและมลพิษในอากาศ ด้วยระบบผลิตสารอนุพันธ์ออกซิเจน
วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 10:30 น บริษัท เอพลัสอินโนเวชั่น แอสเซท จำกัด โดย นายเสกษิต บุญเนืองประธานบริหารบริษัทฯ เข้าพบ พลเอกเฉลิมพล ศรีสวัสดิ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด